หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2556

10. การให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย (operational definition)



                 ดร.วัลลภ ลำพาย (2547;61) กล่าวว่าคำนิยามเชิงปฏิบัติการ คือการสังเกตการณ์วัดและกำหนดตัวชี้ ที่จะเป็นตัวบอกให้ทราบถึงแหล่งข้อมูลและการวัดตัวแปร

                (http://blog.eduzones.com/jipatar/85921) ได้รวบรวมและกล่าวถึง ในการวิจัย อาจมี ตัวแปร (variables) หรือคำ (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คำว่า คุณภาพชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นต้น

                (http://blog.eduzones.com/jipatar/85921) ได้รวบรวมแล้วกล่าวไว้ว่า ในการวิจัย อาจมี ตัวแปร (variables) หรือคำ (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คำว่า คุณภาพชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นต้น

สรุป

คำนิยามเชิงปฏิบัติการ เป็นข้อความที่กำหนดวิธีการต่างๆที่สามารถนำไปปฏิบัติหรือวัดค่าของตัวแปรนั้นออกมาได้ โดยการระบุกิจกรรหรือการดำเนินงานที่จำเป็นต่อการวัดตัวแปร ซึ่งเปรียบเสมือนคู่มือของผู้วิจัยในการวัดค่าตัวแปรนั้น ในการวิจัย อาจมี ตัวแปร (variables) หรือคำ (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คำว่า คุณภาพชีวิต, ตัวแปรที่เกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ , ความพึงพอใจ, ความปวด เป็นต้น

อ้างอิง

วัลลภ ลำพาย. (2547). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

http://blog.eduzones.com/jipatar/85921 เข้าถึงเมื่อ วันที่ 6 มกราคมคม 2556

http://blog.eduzones.com/jipatar/85921. เข้าถึงเมื่อ วันที่ 6 มกราคมคม 2556

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น